คลิบเด็กอ่อน Bassinet Cart
- Dimensions W 40 x L 76 x H 82 cm.
- โครงสร้างทำด้วยสเตนเลส
- ตัวคลิบเป็นพลาสติกใส
- ที่นอนหุ้มผ้าหนังเทียม หนา 5 ซม.
- ลูกล้อ ขนาด 3″
รายละเอียดสินค้า:
เครื่องชั่งน้ำหนักบุคคลขนาดใหญ่ชนิดหน้าปัดนาฬิกา หน้าปัดมีขนาดใหญ่สามารถมองเห็นตัวเลขได้อย่างชัดเจน บริเวณที่ยืนชั่งปูด้วยพื้นยางเพื่อป้องกันการลื่น ตัวเครื่องมีขนาด 28 x 43 x 5 ซม. หนักเพียง 3.5 กก. ใช้ชั่งน้ำหนักบุคคลได้ 130 กก. สินค้าผลิตจากประเทศจีน ขนาดบรรจุ 1 ลัง 3 เครื่อง
เครื่องชั่งน้ำหนักบุคคลแบบดิจิตอล ผลิตจากกระจกหนาพิเศษ 6 มม. แข็งแรงทนทาน มาพร้อมกับระบบสัมผัสเพียงวางเท้าลงไปเครื่องจะเปิดทำงานอัตโนมัติหน้าจอแสดงผลแบบแอลซีดี ขนาด 1 นิ้วทำให้สามารถอ่านได้ง่ายๆ พร้อมทั้งมีระบบ Reset/ปิดอัตโนมัติ และแจ้งเตือนเมื่อแบตเตอรี่ใกล้จะหมด สามารถชั่งน้ำหนักได้สูงสุด 150 กก. ขนาดตัวเครื่อง 30 x 30 ซม.
รหัสสินค้า MZ-BD7700
รหัสสินค้า M2-51-03C เครื่องวัดความดันโลหิต ระบบดิจิตอล รัดต้นแขน ยี่ห้อ Bremed รุ่น BD8200
รายละเอียด : หน้าจอ LCD ขนาดใหญ่ อ่านค่าง่าย หน่วยความจำ 100 ครั้ง เก็บประวัติได้ 2 คน ๆ ละ 50 ครั้ง แสดงผลด้วย 4 สี ตามระดับสีค่าความดันตามมาตรฐาน WHO แสดงค่าเฉลี่ยในการวัดได้ 5 mode (ชม./ วัน/ สัปดาห์/ เดือน/ ทุกครั้ง) สัญลักษณ์เตือนหากระบบตรวจจับการเต้นของหัวใจผิดปกติ ปิดเองอัตโนมัติใน 1 นาที สามารถตั้งเวลาปลุกได้ สามารถต่อ AC Acapter ได้ รับประกันสินค้า 2 ปี
รหัสสินค้า MZ-MF10007
ขนาดท่อ/คิว | ความจุของออกซิเจน/ท่อ | น้ำหนักท่อเปล่า (Kg.) | ความสูง (ซม) | ราคา (บาท) | รหัสสินค้า |
0.5 | 3.4 ลิตร | 6.5 | 61 | 2,100.00 | MZ-004-001 |
1.5 | 10.0 ลิตร | 17.5 | 93 | 2,400.00 | MZ-004-002 |
2.0 | 13.4 ลิตร | 25 | 99 | 3,400.00 | MZ-004-003 |
6.0 | 40.6 ลิตร | 57 | 57.2 | 5,600.00 | MZ-004-004 |
รายละเอียด : – ฐานกว้าง 32 ซม
– สูง 110 ซม.
ราคาขาย : 4,600 บาท
ราคาขาย : 3,400 บาท
ลองอ่านก่อนจะรู้ว่า คํานวณง่ายนิดเดียว ระยะเวลาในการใช้งานของถังออกซิเจน
ระยะเวลาในการใช้งานของถังออกซิเจนขึ้นกับอัตราไหลออกซิเจน (Flow) ขนาดถัง และระดับความดันของออกซิเจนที่เหลืออยู่ในถังเมื่อเริ่มใช้งาน ดังสมการ
ระยะเวลาใช้งาน (นาที) = ความดันของถังเมื่อเริ่มใช้งาน (psi)×Conversion factor ของถัง (L/psi)
O2 Flow (ลิตร/ นาที)
ค่า Conversion factor สำหรับถังออกซิเจนขนาดต่างๆ ดังนี้
ขนาดถังออกซิเจน Conversion factor (L/psig)
D 0.16
E 0.28
G 2.41
H หรือ K 3.14
การเลือกใช้ขนาด
ก่อนอื่นผมขอยกคำถามที่ลูกค้าถามเข้ามาทางบริษัท ว่า ออกซิเจนเหลวคืออะไร วันนี้ได้มีโอกาสอ่านหนังสือหาความรู้มาฝากกันครับ
คำตอบ:
ออกซิเจนเหลว (Liquid Oxygen)
ลักษณะทั่วไป
ออกซิเจนเป็นส่วนประกอบที่มากเป็นอันดับสองในบรรยากาศ ประมาณ 20.8% โดยปริมาตร ออกซิเจนเหลวมีสีน้ำเงินจางๆและเย็นจัด ถึงแม้ไม่เป็นสารติดไฟแต่ออกซิเจนสามารถช่วยให้ติดไฟได้ดี และเป็นสิ่งจําเป็นในการดํารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ออกซิเจน จะทําปฏิกิริยากับสารอินทรีย์และโลหะในรูปOxideการเผาไหม้ในออกซิเจนรุนแรงกว่าการเผาไหม้ในอากาศ อุปกรณ์ที่นํามาใช้กับออกซิเจนต้องสะอาด ระบบต้องเป็นวัสดุที่สามารถทนความร้อนได้สูง และไม่ทําปฏิกิริยากับออกซิเจนภายใต้การใช้งาน ถังบรรจุต้องผลิตตามข้อกําหนดของ American Society of Mechanical Engineers (ASME) และถูกออกแบบเพื่อให้สามารถต้านทานอุณหภูมิและความดัน ออกซิเจนเหลวเป็นของเหลวที่เย็นจัด (Cryogenic Liquid) ของเหลวเย็นจัดคือแก๊สเหลวใดๆที่มีจุดเดือดต่ำกว่า -38ํF (150?C)ในขณะที่ออกซิเจนเหลว มีจุดเดือดอยู่ที่ -97.3 F (-183 ํC) อุณหภูมิที่แตกต่างกันอย่างมากระหว่างออกซิเจนเหลวและสภาวะแวดล้อมภายนอก การเก็บออกซิเจนเหลวจึงจําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้อุปกรณ์พิเศษสําหรับการจัดเก็บ Oxygen นิยมจัดเก็บในรูปของเหลวถึงแม้จะถูกนําไปใช้ในรูปของแก๊สก็ตาม เนื่องจากประหยัดเนื้อที่จัดเก็บและค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าแบบการบรรจุแก๊สแรงดันสูง รูปแบบการจัด เก็บประกอบไปด้วย ถังบรรจุของเหลวเย็นจัดVaporization ระบบควบคุมแรงดัน และท่อต่างๆสําหรับการเติม การระเหย และการจ่ายแก๊ส หลักการสร้างถังบรรจุของเหลวเย็นจัด คล้ายกับขวด Thermos โดยจะมีถังบรรจุภายในและมีถังภายนอกหุ้มอีกหนึ่งชั้นโดยมีฉนวนกั้นอยู่ตรงกลาง ทําหน้าที่ป้องกันความร้อนไม่ให้เข้าไปในถังบรรจุออกซิเจนเหลวข้างในVaporizerทําหน้าที่แปรสภาพออกซิเจนเหลวให้ ระเหยการเป็นแก๊ส ท่อควบคุมแรงดันทําหน้าที่ควบคุมแรงดันแก๊สก่อนจ่ายเข้าสู่กระบวนการหรือใช้งาน ถังที่นํามาใช้สําหรับออกซิเจนเหลวควรออกแบบตาม ASME ว่าด้วยเรื่องอุณหภูมิและความดันแบบท่อต้องเป็นไปตามข้อกําหนดของ American National Standards Institute(ANSI)
![]() |
![]() |
ออกซิเจนเหลว
|
ภาชนะที่ใช้บรรจุ
|
การผลิต
ออกซิเจนกลั่นออกมาจากการแยกอากาศ (ASU) ผ่านกระบวนการทําให้อากาศเป็นของเหลวและแยกออกซิเจนออก โดยหอกลั่นความเย็นและเก็บในรูปของเหลวเย็นจัด ออกซิเจนสามารถกลั่นออกมาในรูปแบบของเหลวที่ไม่เย็นจัดได้ โดยวิธีการเลือกใช้ตัวดูดจับบางตัวเพื่อนําออกซิเจนออกมาในรูปของแก๊ส กระบวนการแยกอากาศ (ASU) เริ่มต้นที่เครื่องอัดอากาศและสิ้นสุดที่ถังเก็บ ซึ่งถูกอัดและส่งไปยังระบบแยกความชื้นคาร์บอนไดออกไซด์ และไฮโดรคาร์บอนที่สะอาด อากาศถูกส่งผ่านไปยังระบบแลกเปลี่ยนความร้อนซึ่งทําให้เย็นลงถึงเย็นจัด และถูกส่งผ่านเข้าสู่หอกลั่นความดันเพื่อแยกไอของออกซิเจนออกไปทางบริเวณด้านบนของหอกลั่น ในขณะเดียวกันออกซิเจนดิบ(ออกซิเจนบริสุทธิ์90% โดยประมาณ) ด้านล่างของหอกลั่นถูกดูดออกและส่งต่อไปยังหอกลั่นความดันเพื่อกลั่นออกซิเจนออกมา ตามความต้องการและจัดเก็บในถังเก็บของเหลว
![]() |
![]() |
การผลิตออกซิเจนเหลว
|
การใช้ประโยชน์
ลักษณะการใช้งานของออกซิเจนโดยทั่วไปอยู่ในรูปของแก๊ส แต่ออกซิเจนนิยมผลิตในรูปของเหลวเนื่องจากสะดวกในการขนส่งและจัดเก็บ การใช้งานออกซิเจนโดยทั่วไปมักเกี่ยวข้องกับการเติมออกซิเจนและใช้ในการดํารงชีวิตทั่วๆ ไป ออกซิเจนถูกนําไปประยุกต์ใช้ทางการแพทย์เพื่อสุขภาพออกซิเจนเหลวถูกใช้เป็นพลังงานเชื้อเพลิงเหลวสําหรับระบบ ขีปนาวุธ(missiles) และจรวด (Rockets) ออกซิเจนถูกนําไปใช้อย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมโลหะ ใช้ร่วมกับแก๊สAcetylene และแก๊สเชื้อเพลิงอื่นๆ เพื่อช่วยในการตัด เชื่อม ขัด ทําแข็ง ทําความสะอาด และหลอมโลหะ ในอุตสาหกรรมผลิตเหล็กนําออกซิเจนมาใช้เพื่อฟอกสารเคมีและทําความร้อนด้วยคาร์บอน ที่ออกมาและการทําปฏิกิริยากับออกไซด์อื่นๆ ผลประโยชน์ เช่น การประหยัดเชื้อเพลิงและพลังงานรวมถึงปริมาณการแผ่รังสีที่ต่ำกว่า คือสิ่งที่ได้รับเสมอเมื่ออากาศถูกแทนที่ด้วยออกซิเจนบริสุทธ์ที่มากกว่า ในอุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเลียมนําออกซิเจนไปทําปฏิกิริยากับสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเพื่อผลิตสารเคมี เช่น แอลกอฮอล์ และ aldehydes ซึ่งมีออกซิเจนเป็นส่วนประกอบ ในหลายๆ ขบวนการทํางานออกซิเจนที่ใช้ทําปฏิกิริยาได้มาจากอากาศ อย่างไรก็ตามการใช้ออกซิเจนโดยตรง หรือการฟอกอากาศด้วย ออกซิเจนก็จําเป็นในบางกระบวนการผลิต การผลิตในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมขนาดกลางมีการใช้ออกซิเจนบริสุทธิ์ รวมถึง เอทิลีน และ propylene oxide (สารต่อต้านความเย็น) vinyl chloride(สําหรับ PVC) และ caprolactam(สําหรับไนลอน)ในอุตสาหกรรมกระดาษใช้ออกซิเจนในการฟอก และเป็น oxidizing ในหลายกระบวนการคุณสมบัติทางกายภาพแสดงผลที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดหลังจากผ่านการบําบัดโดยออกซิเจน ซึ่งทําให้ต้นทุนในการผลิตลดลงด้วยเฉกเช่นเดียวกันออกซิเจนช่วยในการทําปฏิกิริยาเผาไหม้ในอุตสาหกรรมการผลิตกระจก อะลูมิเนียม ทองแดง ทอง ตะกั่วและซีเมนต์หรือขบวนการที่เกี่ยวข้องกับเตาเผาขยะ หรือการบําบัดของเสียขบวนการบําบัดน้ำเสียประสบความสําเร็จ ในการนําออกซิเจนมาเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการทางเคมีอุตสาหกรรมประมง ได้รับประโยชน์ในด้านคุณภาพและขนาดของสัตว์น้ำในแหล่งเพาะเลี้ยงในภาวะออกซิเจนที่เหมาะสม
ตาราง1 : ลักษณะทางกายภาพและเคมีของออกซิเจนเหลว |
|
Molecular Formula | 02 |
Molecular Weight | 31.999 |
Boiling Point @ 1 atm | -297.4?F (-183.0?C) |
Freezing Point @ 1 atm | -361.9?F (-218.8?C) |
Critical Temperature | -181.8?F (-118.4?C) |
Critical Pressure | 729.1 psia (49.6 atm) |
Density, Liquid @ BP, 1 atm | 71.23 lb/scf |
Density, Gas @ 68?F (20?C), 1 atm | 0.0831 lb/scf |
Specific Gravity, Gas (air=1) @ 68?F (20?C), 1 atm | 1.11 |
Specific Gravity, Liquid (water=1) @ 68?F (20?C), 1 atm | 1.14 |
Specific Volume @ 68?F (20?C), 1 atm | 12.08 scf/lb |
Latent Heat of Vaporization | 2934 BTU/lb mole |
Expansion Ratio, Liquid to Gas, BP to 68?F (20?C) | 1 to 860 |
Solubility in Water @ 77?F (25?C), 1 atm | 3.16% by volume |
http://student.mahidol.ac.th/~u4903106/liquid.html
สงวนลิขสิทธิ์ © 2021 THAITHEME.COM. All Rights Reserved. Webdesign by THAITHEME.COM.
แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่อง : คลิบเด็กอ่อน Bassinet Cart
เรื่องนี้ไม่อนุญาติ ให้แสดงความคิดเห็น